ผู้ป่วยไตเสื่อมสามารถดื่มกาแฟได้ แต่ควรจำกัดปริมาณและระมัดระวังเรื่องการบริโภคคาเฟอีน การดื่มกาแฟในปริมาณที่เหมาะสมมักจะไม่เป็นอันตราย แต่การบริโภคคาเฟอีนมากเกินไปอาจส่งผลกระทบต่อความดันโลหิตและการทำงานของไต
14 พ.ย. 2024
ไตเสื่อม เกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต และ พฤติกรรมการรับประทานอาหารของเราในปัจจุบัน แต่มีโรคไตบางชนิดที่อาจจะสืบทอดทางพันธุกรรมได้ เช่น ถุงน้ำในไต และ ไตอักเสบ เป็นต้น
13 พ.ย. 2024
ผู้ป่วยไตเสื่อมระยะที่ 4 ควรระมัดระวังในการรับประทานหน่อไม้ เนื่องจากหน่อไม้อาจมีปริมาณยูริก โพแทสเซียมและฟอสฟอรัสสูง ซึ่งอาจไม่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยไตเสื่อมในระยะนี้ การรับประทานหน่อไม้สามารถทำได้หากรับประทานในปริมาณที่เหมาะสมและอยู่ในคำแนะนำที่แพทย์หรือนักโภชนาการกำหนด
12 พ.ย. 2024
ผลไม้ กล้วยส้ม น้ำมะพร้าว อย่าเพิ่งกินนะครับ เพราะมีโปตัสเซียมมาก กินผลไม้หวานน้อยแต่ควรกินนิดหน่อย ก็พอ ไม่แนะนำให้กินเป็นประจำ
11 พ.ย. 2024
โรค SLE เป็นโรคภูมิทำร้ายตัวเองซึ่งเกิดจากความผิดปกติของการทำงานของเม็ดเลือดขาวกับร่างกายตัวเอง สาเหตุมักจะไม่รู้แต่อาจจะเกิดจากการได้สารอาหารแป้งน้ำตาลและไขมันไม่ดีที่มากเกินไปและผิดสัดส่วน
8 พ.ย. 2024
การรับประทานน้ำเกลือแร่ควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์หรือนักโภชนาการ เพื่อให้แน่ใจว่าปริมาณที่ได้รับเหมาะสมและไม่ก่อให้เกิดปัญหาเพิ่มเติมต่อสุขภาพ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนที่จะเริ่มดื่มน้ำเกลือแร่ หรือหากมีอาการท้องเสียที่รุนแรง
17 ต.ค. 2024
ไตถุงน้ำพวงองุ่น ซึ่งเป็นโรคทางพันธุกรรมเพราะฉะนั้น พ่อแม่เดียวกันควรตรวจดู เพื่อดูว่าได้พันธุกรรมมาเยอะน้อยแค่ไหน ส่วนรุ่นลูกตรวจดูได้ อาจจะได้พันธุกรรมมาการตรวจให้ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องเป็นหลักก่อน
15 ต.ค. 2024
ผู้ป่วยไตเสื่อมสามารถออกกำลังกายได้ แต่ควรทำอย่างระมัดระวังและอยู่ภายใต้การแนะนำของแพทย์
8 ต.ค. 2024
ผู้ป่วยไตเสื่อมระยะที่ 4 สามารถรับประทานผักได้ แต่ควรเลือกชนิดของผักและปริมาณที่เหมาะสม เนื่องจากผักบางชนิดมีปริมาณโพแทสเซียมและฟอสฟอรัสสูง ซึ่งอาจไม่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยไตเสื่อมระยะนี้
24 ก.ย. 2024