บทความสุขภาพ
อาการบวมน้ำ และ อาการน้ำท่วมปอด เป็นอะไรที่ผู้ป่วยโรคไต มีปัญหากันเยอะมากค่ะไม่ใช่ว่าเป็นโรคไตแล้วจะบวมกันทุกคน แต่ขึ้นกับการดูแลตัวเองด้วยค่ะ เพราะฉะนั้น อาการบวมน้ำ จึงสามารถป้องกันได้
28 พ.ย. 2024
ผู้ป่วยไตเสื่อมสามารถดื่มกาแฟได้ แต่ควรจำกัดปริมาณและระมัดระวังเรื่องการบริโภคคาเฟอีน การดื่มกาแฟในปริมาณที่เหมาะสมมักจะไม่เป็นอันตราย แต่การบริโภคคาเฟอีนมากเกินไปอาจส่งผลกระทบต่อความดันโลหิตและการทำงานของไต
14 พ.ย. 2024
ไตเสื่อม เกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต และ พฤติกรรมการรับประทานอาหารของเราในปัจจุบัน แต่มีโรคไตบางชนิดที่อาจจะสืบทอดทางพันธุกรรมได้ เช่น ถุงน้ำในไต และ ไตอักเสบ เป็นต้น
13 พ.ย. 2024
ผู้ป่วยไตเสื่อมระยะที่ 4 ควรระมัดระวังในการรับประทานหน่อไม้ เนื่องจากหน่อไม้อาจมีปริมาณยูริก โพแทสเซียมและฟอสฟอรัสสูง ซึ่งอาจไม่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยไตเสื่อมในระยะนี้ การรับประทานหน่อไม้สามารถทำได้หากรับประทานในปริมาณที่เหมาะสมและอยู่ในคำแนะนำที่แพทย์หรือนักโภชนาการกำหนด
12 พ.ย. 2024
ผลไม้ กล้วยส้ม น้ำมะพร้าว อย่าเพิ่งกินนะครับ เพราะมีโปตัสเซียมมาก กินผลไม้หวานน้อยแต่ควรกินนิดหน่อย ก็พอ ไม่แนะนำให้กินเป็นประจำ
11 พ.ย. 2024
วัดความดันโลหิตเองที่บ้าน ทำอย่างไรกันนะ ความดันโลหิต หมายถึง แรงดันของกระแสเลือดที่กระทบต่อผนังหลอดเลือดแดง เป็นแรงดันเลือดที่เกิดจากหัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆทั่วร่างกาย เวลาวัดความดันเราจะได้ค่าตัวเลขแบ่งเป็น 2 ค่า ค่าตัวบน/ค่าตัวล่าง
6 พ.ย. 2024
มะเร็งลำไส้ใหญ่ โรคร้าย ที่เกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย และในประเทศไทยพบว่าเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่กันมากขึ้นทั้งในผู้ชายและผู้หญิง
19 ต.ค. 2024
ไตเสื่อม กลุ่มอาการที่ไม่ว่าใครก็ไม่อยากให้เกิดขึ้นกับตัวเอง เพราะโรคไตเสื่อมเป็นกลุ่มโรคเรื้อรัง และมักจะไม่แสดงอาการในระยะเริ่มแรก การที่ไตเสื่อมการทำงานลงอย่างช้าๆและมีการสูญเสียเนื้อไต และมักจะแสดงอาการ
9 ต.ค. 2024
โปรตีน ทำให้ไตเสื่อมจริงหรือไม่ การรับประทานอาหารกลุ่มโปรตีน ร่างกายจะย่อยและนำไปใช้บางส่วน ส่วนที่เหลือจะกลายเป็นของเสีย
7 ต.ค. 2024
สัญญาณเตือนไตเสื่อม !!!
1 ต.ค. 2024
อันตราย เมื่อร่างกายได้รับน้ำตาลมากเกินไป สำหรับผู้ที่ชอบรับประทานน้ำตาล เครื่องดื่มที่มีน้ำตาล และอาหารหวานจัดบ่อย ๆสะสมเป็นระยะเวลานาน จะทำให้ระบบความสมดุลของแร่ธาตุในร่างกายเสียไป ส่งผลกระทบต่อระบบภูมิคุ้มกันโรคในร่างกายต่ำลง ส่งผลทำให้ ร่างกายติดเชื้อง่าย นอกจากนี้การเผาผลาญน้ำตาลในร่างกายบ่อย ๆ ยังเป็นตัวเร่งให้เกิดอนุมูลอิสระ เมื่อบริโภคเป็นเวลานานจะก่อให้เกิดระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง หากทานน้ำตาลสะสมมากๆ มีส่วนทำให้เสียสมดุลของฮอร์โมนในสมอง ผลที่ตามมาก็คือทำให้เกิดอาการเซื่องซึม เหนื่อย ไม่กระฉับกระเฉง ซึ่งหากเป็นในเด็กจะทำให้เรียนไม่รู้เรื่อง และหากเป็นวัยทำงานก็จะทำงานไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร นั้นเองค่ะ
24 ก.ย. 2024
โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรค NCDs อีกชนิดหนึ่งที่มีผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก...และเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรค NCDs อื่น ๆ ตามมาอีกหลายโรค...เช่น โรคหัวใจโต...อัมพฤกษ์, อัมพาต...ไตเสื่อม...สมองเสื่อม...จอรับภาพในตาเสื่อม เป็นต้น
5 มิ.ย. 2024
ภาวะไตเสื่อม ถือเป็นโรค NCDs ที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงมาก...ในปี พ.ศ. 2564 กระทรวงสาธารณสุขประมาณการว่า มีผู้ป่วยภาวะไตเสื่อมมากกว่า 12 ล้านคน...หรือประมาณร้อยละ 17 ของประชากร...ความน่ากลัวของภาวะนี้ คือ ภาวะความเสื่อมจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา...และนำไปสู่ภาวะไตวายในที่สุด..
10 เม.ย. 2024